บทที่1 : อะตอม



 อะตอม คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงสภาพความเป็นสสารอยู่ได้
                    เรียกอนุภาคขนาดเล็กที่สุดว่า อะตอม ซึ่งคำว่า "อะตอม"(atom) เป็นคำซึ่งมาจากภาษากรีกว่า (atomas)
                แปลว่าแบ่งแยกอีกไม่ได้  

แบบจำลองของอะตอม มีอยู่  5 แบบ  คือ

1.แบบจำลองอะตอมของดอลตัน  อะตอมมีลักษณะทรงกลม และเป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้ และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทำให้สูญหายได้



2.แบบจำลองอะตอลของทอมสัน  ในอะตอมมีโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วอย่างสม่ำเสมอ อะตอมในสภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้า




แต่ละตัว มีประจุเท่ากับ 1.60x10-19    คูลอมบ์

แต่ละตัว มีมวลเท่ากับ 1.67×10−27 คูลอมบ์


3.แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ในอะตอม มีนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยู่ตรงกลาง มีขนาดเล็ก และมีมวลมาก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวลน้อยวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส


ลอร์อเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ๆพบว่า
  • อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่วิ่งเป็นแนวเส้นตรงทะลุแผ่นทองคำบาง ๆ
  • อนุภาคแอลฟาบางส่วนวิ่งเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง
  • อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยสะท้อบกลับ

                                                                                                                          
 น่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งอยู่ภายในนิวเคลียส ซึ่งไม่มีประจุ แต่มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน


  อนุภาคมูลฐาน
  
อนุภาค
ประจุ(หน่วย)
ประจุ(C)
มวล(g)
มวล(amu)
อิเล็กตรอน
-1
1.6 x 10-19
0.000549
9.1096 x 10-28
โปรตรอน
+1
1.6 x 10-19
1.007277
1.6726 x 10-24
นิวตรอน
0
0
1.008665
1.6749 x 10-24
     
การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์
          AZX  :  เลขมวล คือผลบวกของโปรตอน และนิวตรอนในนิวเคลียส  
                          เลขอะตอม คือ จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส ซึ่ง =จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอม
         
                คำศัพท์ที่ควรทราบ
               1. ไอโซโทป ( Isotope )
        หมายถึง  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอมเท่ากัน   แต่มีเลขมวลต่างกัน 
     
               2. ไอโซบาร์ (  Isobar )  
       หมายถึง  อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน   แต่มีเลขอะตอมไม่เท่ากัน
              
              3. ไอโซโทน   ( Isotone ) 
       หมายถึง   อะตอมของธาตุต่างชนิดกันแต่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน

4.แบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบร์
                       นักวิทยาศาสตร์จึงมีการศึกษาข้อมูลใหม่มาสร้างแบบจำลองที่เน้นรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนที่    อยู่รอบนิวเคลียส โดยศึกษาจากสเปกตรัมและค่าพลังงานไอออไนเซชัน


 สเปกตรัม
                    สเปกตรัมเป็นแสงที่ถูกแยกกระจายออกเป็นแถบสีต่าง  และแสงเป็นรูปหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แถบสีต่างๆในแถบสเปคตรัมของแสง

  การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
 ตารางแสดงการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
ระดับพลังงานที่ (n)
1
2
3
4
5
6
จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้ มากที่สุด (2n2)
2
8
18
32
32
32
  
ยกตัวอย่างเช่น
 na 11 = 2,8,1
 ca 20 = 2,8,8,2

 การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย
 ในแต่ละระดับชั้นพลังงาน จะมีระดับพลังงานชั้นย่อยได้ ไม่เกิน 4 ชั้นย่อย และมีชื่อเรียกชั้นย่อย ดังนี้ s , p , d , f 
        
                      ระดับพลังงานชั้นย่อย s มี e - ได้ ไม่เกิน 2 ตัว          ระดับพลังงานชั้นย่อย p มี e - ได้ ไม่เกิน 6 ตัว
                      ระดับพลังงานชั้นย่อย d มี e - ได้ ไม่เกิน 10 ตัว    ระดับพลังงานชั้นย่อย f มี e - ได้ไม่เกิน 14 ตัว
 
 
การจัดเรียงอิเล็กตรอนของ Ni ซึ่งมี 28 อิเล็กตรอน เขียนได้เป็น 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d8

 

 การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานออบิทอล


เราต้องใส่ลูกศรให้เต็มของแต่ละช่องไปเรื่อยๆจนหมด และห้ามเว้น

 

การเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบระดับพลังงานย่อยในรูปแก๊สเฉื่อย



 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น